อ่านเฉพาะบทความของบล็อคในรูปแบบพิเศษ ...
sidebar / flipcard / mosaic / snapshot / timeslide

วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๓๙ ก ลง ๒๗ กุมภาพันธ   ๒๕๕๑

พระราชบัญญัติ
การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พ.ศ.  ๒๕๕๑
ภูมิพลอดุลยเดช  ป.ร.
ใหไว  ณ  วันที่  ๑๙  กุมภาพันธ  พ.ศ.  ๒๕๕๑
เปนปที่  ๖๓  ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล ยเ ดช   มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ  
ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล   ซึ่งมาตรา  ๒๙  และมาตรา  ๓๑  ประกอบกับมาตรา  ๓๒  มาตรา  ๓๓    มาตรา  ๓๔  มาตรา  ๓๖   มาตรา  ๔๑  และมาตรา  ๔๓  ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหง ชาติ  ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร”   หมายความวา  การดําเนินการเพื่อปองกัน  ควบคุม  แกไข  และฟนฟูสถานการณใด  ที่เปนภัยหรืออาจเปนภัยอันเกิดจากบุคคลหรือกลุมบุคคลที่กอใหเกิดความไมสงบสุข  ทําลาย  หรือทําความเสียหายตอชีิวต  รางกาย  ทรัพยสินของประชาชนหรือของรัฐ  ใหกลับสูสภาวะปกติเพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยของประชาชน   หรือความมั่นคงของรัฐ
คณะกรรมการ”   หมายความวา  คณะกรรมการอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
ผูอํานวยการ”  หมายความวา  ผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
หนวยงานของรัฐ”   หมายความวา  สวนราชการ  รัฐวิสาหกิจ  องคการมหาชน  องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น   และหนวยงานอื่นของรัฐ  แตไมรวมถึงศาลและองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
เจาหนาที่ของรัฐ”  หมายความวา  ขาราชการ  พนักงาน และลูกจางของหนวยงานของรัฐ
พนักงานเจาหนาที่”  หมายความวา  ผูซึ่งผูอํานวยการแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
จังหวัด”  หมายความรวมถึง  กรุงเทพมหานคร
ผูวาราชการจังหวัด”  หมายความรวมถึง  ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
มาตรา ๔ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

หมวด  ๑
กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

มาตรา ๕ ใหจัดตั้งกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เรียกโดยยอวา กอ.รมน.”  ขึ้นในสํานักนายกรัฐมนตรี  มีอํานาจหนาที่และรับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
กอ.รมน.  มีฐานะเปนสวนราชการรูปแบบเฉพาะอยูภายใตการบังคับบัญชาขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี  โดยวิธีการปฏิบัติราชการและการบริหารงาน  การจัดโครงสราง  การแบงสวนงานและอํานาจหนาที่ของสวนงาน  และอัตรากําลัง  ใหเปนไปตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
ใหนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาล   เปน   ผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เรียกโดยยอ วา ผอ.รมน.”   เปน ผูบังคับบัญชาขาราชการ  พนักงาน  และลูกจางใน  กอ.รมน.  และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ  กอ.รมน.  โดยมีผูบัญชาการทหารบกเปนรองผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
ผูอํานวยการอาจแตงตั้งผูชวยผูอํานวยการจากขาราชการในสังกัด  กอ.รมน.   หรือเจาหนาที่ของรัฐอื่นไดตามความเหมาะสม  โดยคํานึงถึงโครงสรางและการแบงสวนงานภายในของ  กอ.รมน.ใหเสนาธิการทหารบกเปนเลขาธิการ  กอ.รมน.  มีหนาที่รับผิดชอบงานอํานวยการและธุรการของ  กอ.รมน.
รองผูอํานวยการ  ผูชวยผูอํานวยการ  และเลขาธิการ  กอ.รมน.  มีอํานาจบังคับบัญชาขาราชการ  พนักงาน  และลูกจางใน  กอ.รมน.  รองจากผูอํานวยการและมีอํานาจหนาที่อื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
ใหผูอํานวยการมีอํานาจทํานิติกรรม  ฟองคดี  ถูกฟองคดี  และดําเนินการทั้งปวงเกี่ยวกับคดีอันเกี่ยวเนื่องกับอํานาจหนาที่ของ  กอ.รมน.  ทั้งนี้  โดยกระทําในนามของสํานักนายกรัฐมนตรีในการปฏิบัติหนาที่และการใชอํานาจตามพระราชบัญญัตินี้  ผูอํานวยการจะมอบอํานาจเปนหนังสือใหรองผูอํานวยการเปนผูปฏิบัติหรือใชอํานาจแทนก็ได
มาตรา ๖ ให กอ.รมน.เปนสวนราชการตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณและกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง
มาตรา ๗ ให  กอ.รมน.  มีอํานาจหนาที่  ดังตอไปนี้
(๑)  ติดตาม  ตรวจสอบ  และประเมินแนวโนมของสถานการณที่อาจกอใหเกิดภัยคุกคามดานความมั่นคงภายในราชอาณาจักรและรายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดําเนินการตอไป
(๒)  อํานวยการในการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร  ในการนี้ใหมีอํานาจหนาที่เสนอแผนและแนวทางในการปฏิบัติงานและดําเนินการตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ  
เมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลวใหหนวยงานของรัฐปฏิบัติตามแผนและแนวทางนั้น
(๓)  อํานวยการ   ประสานงาน  และเสริมการปฏิบัติของหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของในการดําเนินการตามแผนและแนวทางในการปฏิบัติงานตาม  (๒)  ในการนี้  คณะรัฐมนตรีจะมอบหมายให  กอ.รมน.  มีอํานาจในการกํากับการดําเนินการของหนวยงานของรัฐตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนดดวยก็ได
(๔)  เสริมสรางใหประชาชนตระหนักในหนาที่ที่ตองพิทักษรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา  และพระมหากษัตริย  สรางความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ  รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการปองกันและ   แกไขปญหาตาง ๆ   ที่กระทบตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และความสงบเรียบรอยของสังคม
(๕)  ดําเนินการอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติหรือตามที่คณะรัฐมนตรี  สภาความมั่นคงแหงชาติ  หรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๘ นอกจากการมอบอํานาจตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินแลว  บรรดาอํานาจหนาที่ของผูอํานวยการตามพระราชบัญญัตินี้  ผูอํานวยการจะมอบอํานาจให  ผอ.รมน.ภาค  ผอ.รมน.จังหวัด  หรือผูอํานวยการศูนยหรือหัวหนาหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นปฏิบัติแทนก็ได
มาตรา ๙ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติการตามอํานาจหนาที่ของ  กอ.รมน.ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหหนวยงานของรัฐจัดสงเจาหนาที่ของรัฐไปปฏิบัติหนาที่ใน  กอ.รมน.ตามที่ผูอํานวยการรองขอ   และใหองคกรกลางบริหารงานบุคคลหรือองคกรอื่นที่มีอํานาจหนาที่ทํานองเดียวกันของหนวยงานของรัฐนั้น  จัดใหหนวยงานของรัฐที่จัดสงเจาหนาที่ของรัฐไปปฏิบัติหนาที่ยัง  กอ.รมน.  มีอัตรากําลังแทนตามความจําเปนแตไมเกินจํานวนอัตรากําลังที่จัดสงไป
มาตรา ๑๐ ใหมีคณะกรรมการอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรคณะหนึ่ง  ประกอบดวย  
นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเปนประธาน  รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม  และรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยเปนรองประธาน รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม  รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  ปลัดกระทรวงกลาโหม  ปลัดกระทรวงการตางประเทศ  ปลัดกระทรวงมหาดไทย    อัยการสูงสุด  เลขาธิการสภาความมั่นคงแหงชาติ   ผูอํานวยการสํานักขาวกรองแหงชาติ    ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ  เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ  ผูบัญชาการทหารสูงสุด  ผูบัญชาการทหารบก   ผูบัญชาการทหารเรือ  ผูบัญชาการทหารอากาศ   ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ  อธิบดีกรมบัญชีกลางและอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ  เปนกรรมการ   และเลขาธิการ กอ.รมน. เปนกรรมการและเลขานุการ   และใหผูอํานวยการแตงตั้งขาราชการใน  กอ.รมน.  เปนผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน
ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่กํากับ  ใหคําปรึกษาและเสนอแนะตอ  กอ.รมน.  ในการปฏิบัติงานในอํานาจหนาที่ของ  กอ.รมน.  รวมตลอดทั้งอํานาจหนาที่  ดังตอไปนี้
(๑)  วางระเบียบเกี่ยวกับการอํานวยการและประสานงานกับหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของในการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
(๒)  วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ  กอ.รมน.  กอ.รมน.ภาค  และ  กอ.รมน.จังหวัด
(๓)  ออกขอบังคับเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงิน การคลัง  การพัสดุ  และการจัดการทรัพยสินของ    กอ.รมน.
(๔)  แตงตั้งคณะที่ปรึกษา  กอ.รมน.โดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของประชาชนในภาคสวนตางๆ อยางนอยใหประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิหรือมีประสบการณดานรัฐศาสตร  รัฐประศาสนศาสตร  นิติศาสตร    วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน การแกไขปญหาโดยสันติิวิธี  การรักษาความมั่นคงของรัฐ  สื่อมวลชนและมีหนาที่ในการเสนอแนะการแกไขปญหาหรือปองกันภัยที่จะเกิดขึ้น และใหคําปรึกษาตามที่คณะกรรมการหารือ
(๕)  แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมาย
(๖)  ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๑๑ เมื่อมีกรณีจําเปนในอันที่จะรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในพื้นที่ของกองทัพภาคใด  คณะกรรมการโดยคําเสนอแนะของผูอํานวยการจะมีมติใหกองทัพภาคนั้นจัดใหมีกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค  เรียกโดยยอวา  กอ.รมน.ภาค”  ก็ได
ให  กอ.รมน.ภาค  เปนหนวยงานขึ้นตรงตอ  กอ.รมน.  โดยมีแมทัพภาคเปนผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค  เรียกโดยยอวา  ผอ.รมน.ภาค”   มี หน้าที่รับผิดชอบและสนับสนุนการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในเขตพื้นที่รับผิดชอบของกองทัพภาคตามที่ผูอํานวยการมอบหมาย
เพื่อประโยชนในการปฏิบัติหนาที่ของ  กอ.รมน.ภาค ใหผูอํานวยการมีอํานาจแตงตั้งขาราชการและลูกจาง ของกองทัพภาค  รวมตลอดทั้งขาราชการ  พนักงาน  และลูกจางของหนวยงานของรัฐที่อยูในเขตพื้นที่ใหมาปฏิบัติงานประจําหรือเปนครั้งคราวใน  กอ.รมน.ภาค  ไดตามที่ผอ.รมน.ภาค เสนอ
ผอ.รมน.ภาค  เปน ผูบังคับบัญชาขาราชการ   พนักงาน   และลูกจางที่ไดรับ คําส่ังใหมาปฏิบัติงานใน  กอ.รมน.ภาค และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ  กอ.รมน.ภาค
การจัดโครงสราง  การแบงสวนงานและอํานาจหนาที่  อัตรากําลัง และการบริหารงานของสวนงานภายใน  กอ.รมน.ภาค  ใหเปนไปตามที่ผูอํานวยการกําหนดตามขอเสนอของ  ผอ.รมน.  ภาค
ให กอ.รมน. และกองทัพภาคพิจารณาใหการสนับ สนุนดานบุคลากร  งบประมาณและทรัพยสิน  ในการ       ปฏิบัติงานของ กอ.รมน.ภาค ตามที่ ผอ.รมน.ภาค  รองขอ  และใหนําความในมาตรา  ๙  มาใชบังคับกับ  กอ.รมน.ภาค  ดวยโดยอนุโลม
มาตรา ๑๒ เพื่อประโยชนใ นการสรางการมีสวนรวมในการแกไขปญหาหรือปองกันภัยที่จะเกิดขึ้น  ผอ.รมน.ภาค  อาจแตงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา  กอ.รมน.ภาคขึ้นคณะหนึ่ง  ประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการมีจํานวนไมเกินหาสิบคนโดยแตงตั้งจากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของประชาชนในพื้นที่ทุกภาคสวน   มีหนาที่ในการเสนอแนะการแกไขปญหาหรือปองกันภัยที่จะเกิดขึ้น  และใหคําปรึกษาตามที่  ผอ.รมน.ภาค  รองขอ
มาตรา ๑๓ เพื่อประโยชนในการสนับสนุน   ชวยเหลือ และปฏิบัติการตามอํานาจหนาที่ของ  กอ.รมน.ภาค  ตามมาตรา  ๑๑  ผอ.รมน.ภาค  โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยและผูอํานวยการจะตั้งกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัด  เรียกโดยยอวา  กอ.รมน.จังหวัด”   ขึ้นในจังหวัดที่อยูในเขตของกองทัพภาคเปนหนวยงานขึ้นตรงตอ  กอ.รมน.ภาค  ก็ได  โดยมีหนาที่รับผิดชอบและสนับสนุน การรักษาความมั่นคงภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัดนั้น ตามที่ผูอํานวยการมอบหมาย  และใหผูวาราชการจังหวัดเปนผูอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัด  เรียกโดยยอวา  ผอ.รมน.จังหวัด”  เปนผูบังคับบัญชาขาราชการ  พนักงาน  และลูกจาง  และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ  กอ.รมน.จังหวัด
การจัดโครงสราง  การแบงสวนงานและอํานาจหนาที่  อัตรากําลัง  และการบริหารงานของสวนงานภายใน  กอ.รมน.จังหวัด  ใหเปนไปตามที่ผูอํานวยการกําหนดให  กอ.รมน.  และจังหวัดพิจารณาใหการสนับสนุนดานบุคลากร  งบประมาณและทรัพยสิน  ในการปฏิบัติงานของ  กอ.รมน.จังหวัด  ตามที่  ผอ.รมน.จังหวัด  รองขอ  และใหนําความในมาตรา  ๙  มาใชบังคับกับ  กอ.รมน.จังหวัด  ดวยโดยอนุโลม
มาตรา ๑๔ เพื่อประโยชนใ นการสรางการมีสวนรวมในการแกไขปญหาหรือปองกันภัยที่จะเกิดขึ้น   ผอ.รมน.จังหวัด   อาจแตงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา กอ.รมน.จังหวัดขึ้นคณะหนึ่ง  ประกอบดวยประธานกรรมการและกรรมการมีจํานวนไมเกินสามสิบคนโดยแตงตั้งจากผูซึ่งเปนที่ยอมรับนับถือของประชาชนในพ้ืนที่ทุกภาคสวน  มีหนาที่ในการเสนอแนะการแกไขปญหาหรือปองกันภัยที่จะเกิดขึ้น และใหคําปรึกษาตามที่  ผอ.รมน.จังหวัดรองขอ

หมวด  ๒
ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

มาตรา ๑๕ ในกรณีที่ปรากฏเหตุการณอันกระทบตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักรแตยังไมมีความจําเปนตองประกาศสถานการณฉุกเฉินตามกฎหมายวาดวยการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน และเหตุการณนั้นมีแนวโนมที่จะมีอยูตอไปเปนเวลานานทั้งอยูในอํานาจหนาที่หรือความรับผิดชอบในการแกไขปญหาของหนวยงานของรัฐหลายหนวยคณะรัฐมนตรีจะมีมติมอบหมายให   กอ.รมน.  เปนผูรับผิดชอบในการปองกัน  ปราบปราม  ระงับ  ยับยั้ง  และแกไขหรือบรรเทาเหตุการณที่กระทบตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักรนั้น ภายในพื้นที่และระยะเวลาที่กําหนดได   ทั้งนี้   ใหประกาศใหทราบโดยทั่วไป
ในกรณีที่เหตุการณตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลงหรือสามารถดําเนินการแกไขไดตามอํานาจหนาที่ของหนวยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามปกติ  ใหนายกรัฐมนตรีประกาศใหอํานาจหนาที่ของ  กอ.รมน.   ที่ไดรับมอบหมายตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลง  และใหนายกรัฐมนตรีรายงานผลตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาทราบโดยเร็ว
มาตรา ๑๖ ในการดําเนินการตามที่ไดรับมอบหมายตามมาตรา  ๑๕  ให กอ.รมน.มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ดวย
(๑)  ปองกัน  ปราบปราม  ระงับ  ยับยั้ง  และแกไขหรือบรรเทาเหตุการณที่กระทบตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักรตามที่ไดรับมอบหมายตามมาตรา  ๑๕
(๒)  จัดทําแผนการดําเนินการตาม  (๑)  เสนอตอคณะกรรมการเพื่อใหความเห็นชอบ
(๓)  กํากับ ติดตาม และเรงรัดหนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของใหดําเนินการ หรือบูรณาการในการดําเนินการใหเปนไปตามแผนตาม  (๒)
(๔)  ส่ังใหเจาหนาที่ของรัฐซึ่งมีพฤติกรรมวาจะเปนภัยตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือเปนอุปสรรค ตอการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรออกจากพื้นที่ที่กําหนด
ในการจัดทําแผนตาม  (๒)  ให  กอ.รมน.  ประชุมหารือกับสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติและหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของดวย  และในการนี้ใหจัดทําแผนเผชิญเหตุในแตละสถานการณที่คาดวาจะเกิดขึ้น
ในกรณีที่มีคําส่ังตาม  (๔)  แลว ให  กอ.รมน.  แจงใหหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ของรัฐผูนั้นสังกัดทราบพรอมดวยเหตุผล  และใหเจาหนาที่ของรัฐซึ่งไดรับคําส่ังใหออกจากพื้นที่ ั้ นนไปรายงานตัวยังหนวยงานของรัฐที่ตนสังกัดโดยเร็ว   ในการนี้ใหหนวยงานของรัฐเจาสังกัดดําเนินการออกคําส่ังใหเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นพนจากตําแหนงหนาที่  หรือพนจากการปฏิบัติหนาที่ในพื้นที่ตามที่กําหนดไวในคําส่ังดังกลาว
เพื่อประโยชนในการปฏิบัติการตามอํานาจหนาที่ตามวรรคหนึ่ง  ถามีความจําเปนที่  กอ.รมน. ตองใชอํานาจหรือหนาที่ตามกฎหมายใดที่อยูในอํานาจหนาที่หรือความรับผิดชอบของหนวยงานของรัฐใดใหคณะรัฐมนตรีมีอํานาจแตงตั้งผูดํารงตําแหนงใด ๆ  ใน กอ.รมน.เปนเจาพนักงานหรือพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายนั้น  หรือมีมติใหหนวยงานของรัฐนั้นมอบอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบตามกฎหมายในเรื่องดังกลาว  ให  กอ.รมน.  ดําเนินการแทนหรือมีอํานาจดําเนินการดวยภายในพื้นที่และระยะเวลาที่กําหนด  ทั้งนี้ ตองกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขในการใชอํานาจนั้นไวดวย
มาตรา ๑๗ ในกรณีที่มีความจําเปนเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากเหตุการณที่กระทบตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักรใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ในมาตรา  ๑๖  ในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง  
ใหผูอํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจจัดตั้งศูนยอํานวยการหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นเพื่อปฏิบัติภารกิจอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางเปนการเฉพาะก็ได
โครงสราง  อัตรากําลัง  การบริหารจัดการ  อํานาจหนาที่ การกํากับติดตามหรือ บังคับบัญชา
ศูนยอํานวยการหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นตามวรรคหนึ่ง  ใหเป็นไปตามที่ผูอํานวยการโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการกําหนด  โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาและใหนําความในมาตรา  ๙   มาใชบังคับกับศูนยหรือหนวยงานตามวรรคหนึ่งดวยโดยอนุโลม  โดยใหอํานาจของผูอํานวยการเปนอํานาจของผูอํานวยการศูนยหรือหัวหนาหนวยงานนั้น
มาตรา ๑๘ เพื่อประโยชนในการปองกัน  ปราบปราม  ระงับ  ยับยั้ง  และแกไขหรือบรรเทาเหตุการณภายในพื้นที่ตามมาตรา  ๑๕  ใหผูอํานวยการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอํานาจออกขอกําหนดดังตอไปนี้
(๑)  ใหเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของปฏิบัติการหรืองดเวนการปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใด
(๒)  หามเขาหรือใหออกจากบริเวณพื้นที่  อาคาร  หรือสถานที่ที่กําหนดในหวงเวลาที่ปฏิบัติการ  เวนแตไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่  หรือเปนบุคคลซึ่งไดรับการยกเวน
(๓)  หามออกนอกเคหสถานในเวลาที่กําหนด
(๔)  หามนําอาวุธออกนอกเคหสถาน
(๕)  หามการใชเสนทางคมนาคมหรือการใชยานพาหนะ  หรือกําหนดเงื่อนไขการใชเสนทางคมนาคมหรือการใชยานพาหนะ
(๖)  ใหบุคคลปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติอยางหนึ่งอยางใดอันเกี่ยวกับเครื่องมือหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส  เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดแกชีวิต  รางกาย  หรือทรัพยสินของประชาชน
ขอกําหนดตามวรรคหนึ่งจะกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนเวลาหรือเงื่อนไขที่กําหนดไวดวยก็ได 
ทั้งนี้  การกําหนดดังกลาวตองไมกอความเดือดรอนแกประชาชนเกินสมควรแกเหตุ
มาตรา ๑๙ ในการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตามมาตรา  ๑๖  (๑)  ใหผูอํานวยการและพนักงานเจาหนาที่ที่ผูอํานวยการมอบหมาย  เปนพนักงานฝายปกครองหรือ ตํารวจชั้นผูใหญและรวมเปนพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิีธพิจารณาความอาญา
มาตรา ๒๐ ในการใชอํานาจของ  กอ.รมน.  ตามมาตรา  ๑๖  (๑)  ถากอใหเกิดความเสียหายแกประชาชนผูสุจริต  ให  กอ.รมน. จัดใหผูนั้นไดรับการชดเชยคาเสียหายตามควรแกกรณีตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
มาตรา ๒๑ ภายในเขตพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติให  กอ.รมน. ดําเนินการตามมาตรา  ๑๕ 
หากปรากฏวาผูใดตองหาวาไดกระทําความผิดอันมีผลกระทบตอความมั่นคงภายในราชอาณาจักรตามที่
คณะรัฐมนตรีกําหนด  แตกลับใจเขามอบตัวตอพนักงานเจาหนาที่หรือเปนกรณีที่พนักงานสอบสวนไดดําเนินการสอบสวนแลวปรากฏวาผูนั้นไดกระทําไปเพราะหลงผิดหรือรูเทาไมถึงการณและการเปด
โอกาสใหผูนั้นกลับตัวจะเปนประโยชนตอการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร  ในการนี้ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนการสอบสวนของผูตองหานั้น พรอมทั้งความเห็นของพนักงานสอบสวนไปใหผูอํานวยการ
ในกรณีที่ผูอํานวยการเห็น ดวยกับความเห็นของพนักงานสอบสวนใหสงสํานวนพรอมความเห็นของผูอํานวยการใหพนักงานอัยการเพื่อยื่นคํารองตอศาล  หากเห็นสมควรศาลอาจส่ังใหสงผูตองหานั้น ใหผูอํานวยการเพื่อเขารับการอบรม  ณ   สถานที่ที่กําหนดเปนเวลาไมเกินหกเดือน และปฏิบัติตามเงื่อนไขอื่นที่ศาลกําหนดดวยก็ได
การดําเนินการตามวรรคสอง  ใหศาลส่ังไดตอเมื่อผูตองหานั้นยินยอมเขารับการอบรมและปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกลาว
เมื่อผูตองหาไดเขารับการอบรมและปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ศาลกําหนดดังกลาวแลว สิทธินําคดีอาญามาฟองผูตองหานั้นเปนอันระงับไป
มาตรา ๒๒ พนักงานเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ภายในพื้นทีที่กําหนดตามมาตรา ๑๕   อาจไดรับคาตอบแทนพิเศษตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
พนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งผูใดเจ็บปวย เสียชีิวต ทุพพลภาพ พิการ หรือสูญเสียอวัยวะ อันเนื่องมาจากการปฏิบัติหนาที่  ใหไดรับสิทธิประโยชนอื่นนอกเหนือจากที่มีกฎหมายกําหนด  ทั้งนี้  ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
มาตรา ๒๓ บรรดาขอกําหนด ประกาศ คําสั่ง หรือการกระทําตามหมวดนี้ไมอยูในบังคับของกฎหมายวาดวย วิีธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การดําเนินคดีใด ๆ  อันเนื่องมาจากขอกําหนด  ประกาศ  คําส่ัง  หรือการกระทําตามหมวดนี้ ใหอยูในอํานาจของศาลยุติธรรม  ทั้งนี้  ในกรณีที่ศาลจะตองพิจารณาเพื่อใชมาตรการหรือวิธีการชั่วคราวกอนพิพากษาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงหรือประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา   แลวแตกรณี  ใหศาลเรียกเจาพนักงานหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งออกขอกําหนด  ประกาศ  หรือคําส่ัง หรือกระทําการนั้น  มาเพื่อชี้แจงขอเท็จจริง  รายงาน   หรือแสดงเหตุผล เพื่อประกอบการพิจารณาส่ังใชมาตรการหรือวิีธการชั่วคราวดังกลาวดวย

หมวด  ๓
บทกําหนดโทษ

มาตรา ๒๔ ผูใดฝาฝนขอกําหนดที่ออกตามมาตรา  ๑๘  (๒)  (๓)  (๔)  (๕)    หรือ  (๖)   ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป  หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท  หรือทั้งจําทั้งปรับ

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๒๕ ใหโอนบรรดากิจการ   ทรัพยสิน   งบประมาณ   หนี้  สิทธิ  ขาราชการ  พนักงาน  ลูกจาง  และอัตรากําลังของกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในตามคําส่ังสํานักนายกรัฐมนตรี   ที่  ๒๐๕/๒๕๔๙  เรื่อง  ก ารจัดตั้งกองอํานวยการรัก ษาความมั่นคงภายใน   ลงวันที่   ๓๐  ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๙  มาเปนของกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๒๖ ใหศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต  และกองบัญชาการผสมพลเรือน  ตํารวจ ทหาร  ที่จัดตั้งขึ้นตามคําส่ังสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๐๗/๒๕๔๙ เรื่อง การบริหารราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต  ลงวันที่  ๓๐  ตุลาคม  พ.ศ.  ๒๕๔๙    เปนศูนยอํานวยการหรือหนวยงานที่เรียกชื่ออยางอื่นที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา  ๑๗  แหงพระราชบัญญัตินี้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก  สุรยุทธ  จุลานนท
นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ  :-  เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันมีปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคง
จากบุคคลหรือกลุมบุคคลที่มีหลากหลาย  มีความรุนแรง  รวดเร็ว  สามารถขยายตัวจนสงผลกระทบเปน วงกวาง  และมีความสลับซับซอน  จนอาจกระทบตอเอกราชและบูรณภาพแหงอาณาเขต  กอใหเกิดความ
ไมสงบเรียบรอยในประเทศ  และเปนภยันตรายตอความสงบสุขของประชาชน ดังนั้น เพื่อใหสามารถปองกัน 
และระงับภัยที่เกิดขึ้นไดอยางทันทวงที  จึงสมควรกําหนดใหมีหนวยปฏิบัติงานหลักเพื่อรับผิดชอบ
ดําเนินการรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร  ตลอดจนบูรณาการ และประสานการปฏิบัติรวมกับทุกสวนราชการ  สง เสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการปองกันและรักษาความมั่นคง  รวมทั้งเสริมสรางความเขมแข็งในทองถิ่นของตน  เพื่อปองกันภยันตรายที่เกิดขึ้นตั้งแตในยามปกติ  และในยามที่เกิดสถานการณอันเปนภัยตอความมั่นคงในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง  และกําหนดใหมีมาตรการและกลไกควบคุมการใชอํานาจ    เปนการเฉพาะตามระดับความรุนแรงของสถานการณ  เพื่อใหสามารถแกไขสถานการณไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนเอกภาพ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้


0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น